เกณฑ์กำหนดคุณลักษณะผ้าลดโลกร้อน ผ้าสำหรับทำเป็นเสื้อผ้าลดโลกร้อน ต้องเป็นผ้าที่สวมใส่แล้วเย็นสบายและทำความสะอาดได้ง่าย เพื่อลดการใช้พลังงานในเครื่องปรับอากาศ การซักทำความสะอาด และการใช้นํ้า เป็นต้น ซึ่งอาจเป็นผ้าที่ทำจากเส้นใยธรรมชาติหรือเส้นใย ประดิษฐ์และอาจผสมเส้นใยสังเคราะห์ที่มีการพัฒนาให้มีสมบัติพิเศษในการซับเหงื่อจากผิวหนัง และระเหยออกผ่านสู่ผิวผ้าด้านนอกเพื่อเพิ่มควาสบาย ในการสวมใส่หรือมีการเพิ่มความเย็นสบายให้กับผู้สวมใส่ด้วยนวัตกรรม เช่น การใช้เทคโนโลยีพิเศษผลิตเส้นใย (fiber technology) หรืการใช้เทคโนโลยีการตกแต่งสำเร็จด้วยสารชีวภาพ (biotech finishing technology) เพื่อช่วยลดอุณหภูมิผิวหนัง ทั้งนี้ผ้าต้องมีคุณภาพควาคงทนได้มาตรฐานและมีความปลอดภัยสำหรับผู้สวมใส่ด้วย คุณลักษณะด้านความปลอดภัย |
รายการที่ | คุณลักษณะ | หน่วย | เกณฑ์ที่กำหนด | วิธีทดสอบ | |
เสื้อผ้าเด็กอ่อน | ชุดทำงานในสำนักงาน , เสื้อผ้าทั่วไป , ผ้าปูที่นอนและปอกหมอน |
||||
1. | ปริมาณฟอร์มาลดีไฮด์น้อยกว่า | mg/kg | 20 | 75 | ISO 14184 Part 1 |
2. | อนุภาคโลหะหนักน้อยกว่า - ตะกั่ว - แคดเมียม - โครเมียมทั้งหมด - โครเมียม (VI) - ทองแดง |
mg/kg |
|
|
สกัดด้วยสารละลายเหงื่อตาม ISO 105-E04 Test Solution II ที่ 40C เป็นเวลา 1 ชั่วโมง แล้วนำมาวัดด้วย Atomic Absorption Spectrometer (AAS) หรือ Inductively Coupled Plasma Atomic Emission Spectrometer (ICP) สำหรับตะกั่ว แคดเมียม โครเมียมทั้งหมด และ ทองแดง ส่วนโครเมียม (VI) วัดด้วย US-VIS Spectrophotometer |
3. | สีเอโซ (azo dye) ที่ให้แอโร แมติกเอมีน (aromatic amine)* ไม่เกิน | mg/kg | 30 | 30 | EN 14362 Part 1 และ EN 14362 Part 2 |
หมายหตุ:
(1) เสื้อผ้าเด็กอ่อหมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 24 เดือน * หมายถึง แอโรแมติกแอมีน 24 ตัว
คุณลักษณะด้านคุณภาพและความคงทน
รายการที่ | คุณลักษณะ | หน่วย | เกณฑ์ที่กำหนด | วิธีทดสอบ | ||
เสื้อผ้าเด็กอ่อน | ชุดทำงานในสำนักงาน , เสื้อผ้าทั่วไป , | ผ้าปูที่นอนและปอกหมอน | ||||
1. | ความต้านแรงดึงขาด (แบบแกรบ) (เฉพาะผ้าทอ) ไม่น้อยกว่า | นิวตัน (N) | - | 111 | 250 (1) 200 (2) |
ISO 13934-2 |
2. | ความต้านทานแรงดันทะลุ (เฉพาะผ้าถัก) ไม่น้อยกว่า | กิโลปาสคาล (kPa) | 380 (4) |
280 (4) (เสื้อผ้าทั่วไป) 580 (4) (ชุดทำงานในสำนักงาน) |
- | ISO 13938-1 |
3. | การเปลี่ยนแปลงขนาดหลังการซัก* 5 ครั้งในแต่ละแนวไม่เกิน | ร้อยละ | + 5 (ผ้าทอ) + 8 (ผ้าถัก) |
-5,+3 (ผ้าทอ) -7,+5 (ผ้าถัก) |
-5 (แนวด้ายยืน), -3 (แนวด้ายพุ่ง) (1) -6 (แนวด้ายยืน), -6 (แนวด้ายพุ่ง) (2) |
ISO 3759, ISO 5077, ISO 6330 |
4. | ความคงทนของสีต่อการซักไม่น้อยกว่า - การเปลี่ยนสี - การเปื้อนสี |
ระดับ | 4 4 |
4 3-4 |
4 3-4 |
ISO 105-C06 |
5. | ความคงทนของสีต่อแสง (แสงซีนอ นอาร์ก) เมื่อเทียบกับ ผ้าบลูวูลมาตรฐาน ไม่น้อยกว่า |
ระดับ |
3-4 (6) | 3-4 (เสื้อผ้าทั่วไป) 4 (3) (ชุดทำงานในสำนักงาน) |
4 (3) | ISO 105-B02 |
6. | ความคงทนของสีต่อนํ้าลาย และเหงื่ไม่น้อยกว่า - การเปลี่ยนสี - การเปื้อนสี |
เกรย์สเกล ระดับ | 4 4 |
- - |
- - |
DIN 53160 |
หมายหตุ:
(1) เส้นใยผสม เช่น ฝ้าย/โพลิเอสเทอร์
(2) เส้นใยธรรมชาติเช่น ฝ้าย 100%, ไหม 100%
(3) สำหรับผ้าที่ทำจากเส้นใยไหม 100% หรือเส้นใยฝ้าย 100% ที่มีอัตราส่วนผสมเส้นใยไหมหรือฝ้ายตั้งแต่ 50 % ขึ้นไป ที่มีสีอ่อนระดับความเข้มของสี 1/12 ให้มีความคงทนของสีต่อแสงไม่น้อยกว่า 3-4
(4) สำหรับผ้าที่ทำจากเส้นใยผสมโพลียูรีเทน ให้มีความต้านทานแรงดันทะลุ (เฉพาะผ้าถัก) ไม่น้อยกว่า 250 กิโลปาสคาล
(5) เสื้อผ้าทั่วไป อ้างอิงจาก มอก. 2346 เสื้อผ้าสำเร็จรูป ซึ่งไม่มีการระบุเรื่องความคงทนของสีต่อแสง และความต้านต่อแรงดันทะลุไว้ จึงอ้างอิงจาก quality characterisation of apparel
(6) อ้างอิงจาก quality characterisation of apparel
คุณลักษณะด้านการลดความร้อน
มีคุณสมบัติอย่างน้อย 2 ใน 3 รายการ โดยต้องผ่านเกณฑ์รายการที่ 1 Q-max เป็นหลัก
รายการที่ | คุณลักษณะ | หน่วย | เกณฑ์ที่กำหนด | วิธีทดสอบ |
1. | Touch feeling of warm or cool, Q-max | W/cm2 | min 0.14 W/cm2 | KES-F7 Thermo Labo II |
2. | การดูดซึมนํ้า (absorbency) | วินาที | ไม่เกิน 5 วินาที (ผ้าทอ) ไม่เกิน 2 วินาที (ผ้าถัก) |
AATCC 79 |
3. | การดูดนํ้า (wicking) | มิลลิเมตร | มากกว่า 50 มิลลิเมตร | JIS L 1907-1994 (Byreck) |
หมายเหตุ: การดูดซึมนํ้า (absorbency): เป็นการวัดเวลาที่หยดนํ้าซึมลงไปในผ้าที่วางในแนวระนาบ
การดูดนํ้า (wicking): เป็นการวัดระยะทางที่นํ้าซึมขึ้นมาบนผ้าตามแนวดิ่งในเวลา 10 นาที
ห้องปฏิบัติการทดสอบ |
ISO 14064-1: 2006, Greenhouse Gases - Part 1: Specification with guidance at the organization level for quantification and reporting of greenhouse gas emissions and removals. ISO/PDTR 14069: 2011, Greenhouse Gases - Quantification and reporting for GHG emissions for organizations - Guidance for the application of ISO 14064-1 (working draft 3). The World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) and The World Resources Institute (WRI): 2001, The Greenhouse Gas Protocol: A Corporate Accounting and Reporting Standard. The World Business Council for Sustainable Development (WBCSD) and The World Resource Institute (WRI): 2004, The Green house Gas Protocol: A Corporate Accounting and Reporting Standard. Revised Edition. |